โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5

|

01/12/2022

หมู่บ้าน : บ้านดอนไร่

ข้อมูลพื้นฐาน

Image

ชื่อหมู่บ้าน บ้านดอนไร่

รายละเอียดหมู่บ้าน

ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน

       ชื่อหมู่บ้าน ดอนไร่  

        หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองสะเดา อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย์ ๗๒๑๓๐

ประชากรชาย ๒๗๔ คน ประชากรหญิง ๓๕๓ คน รวม ๖๒๗ คน

จำนวนครัวเรือน ๒๓๘ หลัง

ผู้ใหญ่บ้าน นางสุพัตรา มีชะนะ  โทร.๐๘๑-๙๘๑๕๘๘๙

วัดประจำหมู่บ้าน วัดดอนไร่

นามเจ้าอาวาส พระครูสิทธิปัญญากร โทร. ๐๘-๑๘๕๖-๖๗๘๒

กิจกรรม/โครงการฯ ที่หมู่บ้านดำเนินการ

1.     โครงการหมู่บ้ารสีขาว (ลด ละ เลิกยาเสพติด/อบายมุข)

2.    โครงการหมู่บ้านชื่อสะอาด (ความสุจริต/โปร่งใส)

3.    โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

4.    โครงการหมู่บ้านคุณธรรม/วัฒนธรรม

5.    กลุ่มออมทรัพย์/กองทุนหมู่บ้าน/กลุ่มสัจจะออมทรัพย์

6.    กลุ่ม/แครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชน

7.   กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม/ป่าชุมชน

 

จุดเด่นของหมู่บ้าน

       หมู่บ้านดอนไร่ มีชื่อเดิมว่าหมู่บ้านหนองตม เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม และเป็นแอ่งกระทะ เวลาฝนตกจะมีน้ำท่วมทั่วบริเวณ ต่อมาในปีพุทธศักราช 2456 กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้านร่วมกันดำเนินการก่อสร้างวัดขึ้น และได้ขอจดทะเบียนจากกรมการศาสนาเพื่อให้เป็นวัดอย่างถูกต้องในปีพุทธศักราช 2465 พร้อมใจตั้งชื่อว่าวัดดอนไร่ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับพื้นที่ ที่ใช้ทำไร่และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อของวัดต่างๆ จึงเปลี่ยนชื่อจากหมู่บ้านหนองตมกลายเป็นบ้านดอนไร่ตั้งแต่นั้นมา  บ้านดอนไร่ มีจุดเด่นในเรื่องของการทำเกษตรกรรม และยังมีสัมมาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน โดยการรวมกลุ่มในการขายสินค้า OTOP เช่น ไม้กวาด และการทำขนมไทย โดยคนในชุมชนมีความสามัคคียึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่งผลให้ชุมชนเกิดคุณภาพฃีวิตที่ดีขึ้น

 

 

 

 

 

กิจกรรมส่งเสริมการรักษาศีล ๕

1.     การตั้งคณะกรรมการส่งเสริมความสามัคคีและคุมครองสิทธิชุมชน และหรือคณะกรรมการรักษาความปลอดภัยของหมู่บ้าน (ชรบ.)

2.    การกำหนดอภัยทานของหมู่บ้าน

3.    การจัดกิจกรรมเฝ้าระวังความรุนแรงในหมู่บ้าน เช่น กิจกรรม คุ้มครองสิทธิเด็กและสตรี

4.    การจัดกิจกรรมส่งเสริมจิตภาวนาเพื่อเพิ่มพูนความเมตตา  ตามหลักเบญจธรรม

5.    การตั้งคณะกรรมการ/ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)  เพื่อดูแลทรัพย์ในหมู่บ้าน

6.    การตั้งกฎ ระเบียบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการลักขโมย

7.    การจัดกิจกรรมการส่งเสริมความสุจริต โปร่งใสของหมู่บ้าน

๘. กิจกรรมส่งเสริมความยุติธรรมชุมชน/มีศูนย์ยุติธรรมชุมชน

๙. การตั้งคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขยาเสพติดในหมู่บ้าน

๑๐. กิจกรรมส่งเสริมการมีสติในการครองตนของวัดและชุมชน

 

ประเพณีวิถีวัฒนธรรมเชิงพุทธ

1.     การจัดกิจกรรมไหว้พระ สวดมนต์ ทำบุญตักบาตร ประจำวันพระ วันเสาร์/อาทิตย์

2.    การจัดกิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

3.    การจัดกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาของหมู่บ้าน

4.    การจัดกิจกรรมส่งเสริมวิปัสสนากรรมฐาน

5.    วัฒนธรรมประเพณีที่โดเด่นด้าน

6.    การตั้งคณะกรรมการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมชาวพุทธ

๗.      การจัดกิจกรรมส่งเสริมและอนุรักษ์ที่ต่อเนื่อง

๘.      สินค้าของชุมชน OTOP ที่โดดเด่นของหมู่บ้าน

ปัญหาและอุปสรรคของชุมชน

๑. ด้านงบประมาณในการสนับสนุนในการจัดกิจกรรม

๒. ขาดอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดกิจกรรม

๓. การประกอบอาชีพของคนในชุมชน มีความขัดแย้งกับข้อวิรัตติของศีล ๕ บางข้อ

4. ไม่มีเอกภาพการตัดสินใจในการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้ง

6. คนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก จึงขาดความรู้ทางด้านทฤษฎี

ภาพหมู่บ้าน

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

หมู่บ้านอื่นๆ

หมู่บ้าน : บ้านปะอาว
จังหวัด อุบลราชธานี
อำเภอ เมืองอุบลราชธานี
ตำบล ปะอาว

หมู่บ้าน : บ้านกลางใหญ่
จังหวัด อุดรธานี
อำเภอ บ้านผือ
ตำบล กลางใหญ่

หมู่บ้าน : บ้านนาหมอม้า
จังหวัด อำนาจเจริญ
อำเภอ เมืองอำนาจเจริญ
ตำบล นาหมอม้า

หมู่บ้าน : บ้านห้วยเตย
จังหวัด หนองบัวลำภู
อำเภอ เมืองหนองบัวลำภู
ตำบล หนองหว้า

หมู่บ้าน : บ้านหนองกุ้งใต้
จังหวัด หนองคาย
อำเภอ โพนพิสัย
ตำบล กุดบง

หมู่บ้าน : บ้านวังปลัด
จังหวัด สุรินทร์
อำเภอ สังขะ
ตำบล ทับทัน

หมู่บ้าน : บ้านบึงพระราม
จังหวัด สระแก้ว
อำเภอ เขาฉกรรจ์
ตำบล พระเพลิง

หมู่บ้าน : บ้านดอนกอย
จังหวัด สกลนคร
อำเภอ พรรณานิคม
ตำบล สว่าง

หมู่บ้าน : บ้านตะเคียน
จังหวัด ศรีสะเกษ
อำเภอ ศรีรัตนะ
ตำบล ศรีแก้ว

หมู่บ้าน : บ้านหนองกุง
จังหวัด ร้อยเอ็ด
อำเภอ โพนทอง
ตำบล สว่าง

สำนักงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5

วัดไร่ขิง พระอารามหลวง ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๗๓๒๑๐ โทร: ๐๓๔ ๓๑๘ ๔๑๔